ภาพรวมของเนื้อหา
ประพจคือ
ประโยคที่มีความจริงเป็นจริง (T) หรือเท็จ (F) อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
รูปแบบของประโยคที่เป็นประพจน์
- ประโยคที่เป็นประพจน์คือประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธ
- ประโยคที่ไม่เป็นประพจน์คือประโยคคำถาม คำสั่ง ขอร้อง และ ประโยคอุปทาน
- ประโยคที่มีค่าความจริงไม่แน่นอนหรือระบุค่าความจริงได้แน่นอนจะไม่เป็นประพจน์
ตัวเชื่อมประพจน์
∧ และ
∨ หรือ
→ ถ้า...แล้ว
↔ ก็ต่อเมื่อ
~ นิเสธ
ตัวบ่งปริมาณ
∀x (x ทุกตัวใน ∪)
∃x (x บางตัวใน ∪)
การอ้างเหตุผล
- เหตุและผลเป็นจริง
- เหตุและผลเป็นสัจนิรันดร์
- สมเหตุสมผล (Valid)
- เหตุละผลเป็นเท็จ (อย่างน้อย 1 ตัว)
- เหตุและผลไม่เป็นสัจนิรันดร์
- ไม่สมเหตุสมผล (Invalid)
สัจนิรันดร์
ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี
ประโยคเปิด
ประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่มีตัวแปร เมื่อแทนค่าด้วยสมาชิกใน U นั้น จะกลายเป็นประพจน์ เช่น P(x, y), Q(x, y)
ตารางค่าความจริง

อ่านต่อเรื่อง การสมมูลและนิเสธ
เข้าใจตรรกศาสตร์มากขึ้นกับติวเตอร์คณิตศาสตร์ตัวต่อตัวคลิก 👉 ติวเตอร์คณิตศาสตร์








