สรุปเนื้อหาค่าสัมบูรณ์ และสูตรที่ควรรู้ - ระบบจำนวนจริง ม.4 เทอม 1
บทความนี้จะพูดถึง ค่าสัมบูรณ์ หนึ่งในบทระบบจำนวนจริงของคณิตศาสตร์ ม.4 เทอม 1 หรือคณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม 1 ที่ใครหลายๆคนบอกว่ายาก แต่ออกข้อสอบเยอะมากทั้ง ข้อสอบในโรงเรียน และข้อสอบ A-Level
ค่าสัมบูรณ์ หนึ่งในเรื่องที่ใครหลายๆคนมักข้ามเวลาทำโจทย์ เพราะยาก สับสน และมักทำผิด ส่วนหนึ่งมาจากการไม่เข้าใจที่มา, สมบัติ, นิยามของค่าสัมบูรณ์ หรือหลงลืมสมบัติบางข้อของค่าสัมบูรณ์ไป
สิ่งที่จะได้จากการอ่านบทความนี้คือ รู้ว่าค่าสัมบูรณ์คืออะไร มีลักษณะ และนิยามที่สำคัญอย่างไรบ้าง พร้อมกับสมบัติหรือสูตรของค่าสัมบูรณ์ที่น้องๆ ม.4 ต้องควรรู้ไว้ และเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น พวกเรา fellowie ยังได้ยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้เห็นภาพมากขึ้นด้วย
อย่าลืม!! ฝึกทำโจทย์และทบทวนบ่อยๆ จะช่วยเพิ่มความเข้าใจ ความชำนาญ และสามารถทำโจทย์หรือข้อสอบทุกรูปแบบได้ง่ายขึ้นด้วย
ถ้าพร้อมแล้วไปเริ่มกันเลย ~Let’s GO~
ค่าสัมบูรณ์(Absolute) คือระยะห่างจาก 0 ไปยังตำแหน่งที่เราต้องการ โดยมีสัญลักษณ์ คือ |a|
ดังนั้น |5| = 5
ดังนั้น |-2| = 2
**ข้อสังเกต**
จะเห็นได้ว่า ระยะห่างจะเป็นค่าบวกเสมอ ดังนั้นค่าสัมบูรณ์จะมีค่าเป็นบวกหรือศูนย์เท่านั้น ไม่สามารถเป็นค่าลบได้
= a; a ≥ 0
ค่าสัมบูรณ์ของ a (|a|) = 0; a = 0
= -a; a < 0
a = 4
จะได้ว่า a ≥ 0
ดังนั้น |a| = 4
a = -2
จะได้ว่า a < 2
ดังนั้น |a| = -(-2) = 2
***กำหนดให้ w, x, y, z ∈ R***
1. |a| ≥ 0
2. |-a| = |a|
3. |a-b| = |b-a|
4. |ab| = |a| · |b|
5. || = ; b ≠ 0
6. |a|² = a²
7. |a+b| ≤ |a|+|b|
8. |a| =
9. |a-b| = 0; a = b
10. กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงบวก
จะได้ว่า |a| ≤ b; -b ≤ a ≤ b
|a| ≥ b; a ≤ -b หรือ a ≥ b
❓ถ้ามีข้อสงสัยในวิชาคณิตศาสตร์
❓เรียนที่โรงเรียนแล้วยังไม่เข้าใจ
❓หาที่เรียนเสริมแล้วยังไม่พอใจ ไม่ถูกใจ
🥇อยากได้โจทย์ฝึกฝน และมีคนช่วยแบบส่วนตัว
💙สามารถมาปรึกษา หรือเรียนเสริมกับติวเตอร์บน fellowie ได้ที่ 👉ติวเตอร์คณิตศาสตร์
📌แอป fellowie คืออะไร?
fellowie แอปเรียนออนไลน์ตัวต่อตัวกับติวเตอร์ที่เหมาะกับคุณ
👨👨👧👦แหล่งรวมติวเตอร์มากมาย หลากหลายสไตล์
❌ ไม่ผูกมัด จ่ายเงินเป็นรายครั้ง
❌ ไม่ผ่านนายหน้า
✅ ปลอดภัย ไม่โดนโกง 100%
✅ ติวเตอร์ทุกคนผ่านการยืนยันตัวตน
👩🏫 รู้จักโปรไฟล์ & สไตล์การสอน ของติวเตอร์ตั้งแต่ก่อนเรียน
🕐 เลือกเวลาเรียนได้เอง
⚖️ ราคายุติธรรม เป็นกลาง